เทคโนโลยีภูมิสารสนเทศเพื่อศึกษาภัยพิบัติทางธรรมชาติในประเทศไทย
Abstract
ภัยพิบัติทางธรรมชาติเป็นปัญหาที่สำคัญของมนุษย์ทั่วโลก ประเทศไทยประสบปัญหาภัยพิบัติที่ทวีความรุนแรงมากขึ้นและบ่อยครั้งขึ้น ส่งผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อม เศรษฐกิจ สุขภาพ และความปลอดภัย ภัยพิบัติทางธรรมชาติบางครั้งเป็นเรื่องที่ยากในการเตรียมแผนป้องกัน การนำความรู้ในหลาย ๆ ด้านมาใช้ในการจัดการปัญหาจึงมีความจำเป็นอย่างมาก เทคโนโลยีภูมิสารสนเทศ ซึ่งประกอบด้วย ระบบสารสนเทศทางภูมิศาสตร์ (Geographic Information System : GIS) การรับรู้ระยะไกล (Remote Sensing: RS) และระบบกำหนดตำแหน่งบนพื้นโลก (Global Position System: GPS) เป็นเครื่องมือที่มีประสิทธิภาพในการจัดการกับปัญหาภัยพิบัติได้ ในประเทศไทยมีการใช้เทคโนโลยีภูมิสารสนเทศเพื่อศึกษาภัยพิบัติทางธรรมชาติในด้านต่าง ๆ เช่น แผ่นดินไหว อุทกภัย แผ่นดินถล่ม คลื่นพายุซัดฝั่ง ไฟป่า และภัยแล้ง ซึ่งข้อมูลที่ได้จากการศึกษาเป็นประโยชน์อย่างมากต่อหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง อย่างไรก็ตาม ในการประยุกต์ใช้เทคโนโลยีภูมิสารสนเทศที่ต้องมีความระมัดระวังในเรื่อง ความถูกต้องของข้อมูล ระยะเวลาของการเก็บข้อมูล และมาตรฐานของข้อมูลเพื่อความน่าเชื่อถือของผลการวิเคราะห์ คำสำคัญ : เทคโนโลยีภูมิสารสนเทศ ภัยพิบัติทางธรรมชาติ ผลกระทบReferences
กรมชลประทาน. (2556). แผนยุทธศาสตร์. กรมชลประทาน พ.ศ. 2556-2559.
โครงการสุขภาพคนไทย. (2556). ประเทศไทยในสถานการณ์ภัยธรรมชาติพิบัติ. เข้าถึงเมื่อ 2 มิ.ย. 2557 จาก http://www.hiso.or.th/hiso/picture/reportHealth/ThaiHealth2013/thai2013_15.pdf
ณรงค์ พลีรักษ์. (2556). เทคโนโลยีภูมิสารสนเทศเพื่อการศึกษาการเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศ : การทบทวนวรรณกรรม.วารสารวิจัยและพัฒนา มจธ. 36(4), 503-515
ทนงศักดิ์ อะโน และคณะ. (2556). การประเมินพื้นที่เสี่ยงภัยแล้งด้วยเทคนิคการวิเคราะห์ศักยภาพเชิงพื้นที่.วารสารวิชาการ วิศวกรรมศาสตร์ ม.อบ, 6(2), 20-28.
บันทึกเหตุการณ์มหาอุทกภัยปี 2554. เข้าถึงเมื่อ 4 มิ.ย. 2557 จาก http://www. thaiwater.net/current/flood54.html.
กรมอุตุนิยมวิทยา. (2556). ภัยธรรมชาติ. เข้าถึงเมื่อ 2 มิ.ย. 2557 จาก http://www.tmd.go.th/info.php?fileID=78
ศูนย์ภูมิสารสนเทศเพื่อการพัฒนาภาคตะวันออกเฉียงเหนือ มหาวิทยาลัยขอนแก่น.(2549). ภาคตะวันออกเฉียงเหนือศักยภาพพื้นที่เพื่อการพัฒนา. ขอนแก่น : หจก.ขอนแก่นการพิมพ์.
สมิทธ ธรรมสโรช. (2534). ภัยธรรมชาติในประเทศไทย. กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์กรมอุตุนิยมวิทยา.
สุรีย์พร ธรรมิกพงษ์ และคณะ. (2552). คุณสมบัติของดินและสมดุลน้ำ ตัวชี้วัดการเกิดอุทกภัยและแผ่นดินถล่มในพื้นที่วิกฤต. เพชรบุรี : มหาวิทยาลัยราชภัฎเพชรบูรณ์.
สำนักงานคณะกรรมการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ. (2554). รายงานการศึกษาเบื้องต้น การจัดการภัยพิบัติและการฟื้นฟูบูรณะหลังการเกิดภัยพิบัติ กรณีศึกษาไทยและต่างประเทศ. กรุงเทพฯ : สำนักงานคณะกรรมการเศรษฐกิจ และสังคมแห่งชาติ
ไอศูรย์ เรืองรัตนอัมพร. (2552). การวิเคราะห์ความเสี่ยงจากคลื่นพายุซัดชายฝั่งโดยวิธีวิเคราะห์ซ้อนทับกลุ่มข้อมูลเชิงพื้นที่แบบกำหนดเงื่อนไข กรณีศึกษาจังหวัดสมุทรปราการ. วารสารวิชาการคณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ สจล. 9, 61-71.
Chang K. (2002). Introduction to Geographic Information Systems. New York : McGrew- Hill.
David, B.E. (2001). GIS A Visual Approach (2nd Edition). Canada : Thomson Learning,
Deeudomchan, K. & Rungsripanich, A. (2007). Analysis of Forest Fire Risk Area Using Remote Sensing and GIS Techniques. Journal of Remote Sensing and GIS Association of Thailand. 8(3), 34-43.
GPS.gov. (2013). GPS Overview. Retrieved May 21, 2014 from http://www.gps.gov/systems/gps/
Haq, M., Akhtar, M., Muhammad, S., Paras., S., and Rahmatullah, J., (2012). Techniques of Remote Sensing and GIS for Flood Monitoring and Damage Assessment : A Case Study of Sindh Province, Pakistan, The Egyptian Journal of Remote Sensing and Space Science, 15 , 135-141.
Sangawongse, S. (2009). Remote Sensing for Land-use/Land-cover Monitoring and Application. pp 1-2. Bangkok : Chula Press.
โครงการสุขภาพคนไทย. (2556). ประเทศไทยในสถานการณ์ภัยธรรมชาติพิบัติ. เข้าถึงเมื่อ 2 มิ.ย. 2557 จาก http://www.hiso.or.th/hiso/picture/reportHealth/ThaiHealth2013/thai2013_15.pdf
ณรงค์ พลีรักษ์. (2556). เทคโนโลยีภูมิสารสนเทศเพื่อการศึกษาการเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศ : การทบทวนวรรณกรรม.วารสารวิจัยและพัฒนา มจธ. 36(4), 503-515
ทนงศักดิ์ อะโน และคณะ. (2556). การประเมินพื้นที่เสี่ยงภัยแล้งด้วยเทคนิคการวิเคราะห์ศักยภาพเชิงพื้นที่.วารสารวิชาการ วิศวกรรมศาสตร์ ม.อบ, 6(2), 20-28.
บันทึกเหตุการณ์มหาอุทกภัยปี 2554. เข้าถึงเมื่อ 4 มิ.ย. 2557 จาก http://www. thaiwater.net/current/flood54.html.
กรมอุตุนิยมวิทยา. (2556). ภัยธรรมชาติ. เข้าถึงเมื่อ 2 มิ.ย. 2557 จาก http://www.tmd.go.th/info.php?fileID=78
ศูนย์ภูมิสารสนเทศเพื่อการพัฒนาภาคตะวันออกเฉียงเหนือ มหาวิทยาลัยขอนแก่น.(2549). ภาคตะวันออกเฉียงเหนือศักยภาพพื้นที่เพื่อการพัฒนา. ขอนแก่น : หจก.ขอนแก่นการพิมพ์.
สมิทธ ธรรมสโรช. (2534). ภัยธรรมชาติในประเทศไทย. กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์กรมอุตุนิยมวิทยา.
สุรีย์พร ธรรมิกพงษ์ และคณะ. (2552). คุณสมบัติของดินและสมดุลน้ำ ตัวชี้วัดการเกิดอุทกภัยและแผ่นดินถล่มในพื้นที่วิกฤต. เพชรบุรี : มหาวิทยาลัยราชภัฎเพชรบูรณ์.
สำนักงานคณะกรรมการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ. (2554). รายงานการศึกษาเบื้องต้น การจัดการภัยพิบัติและการฟื้นฟูบูรณะหลังการเกิดภัยพิบัติ กรณีศึกษาไทยและต่างประเทศ. กรุงเทพฯ : สำนักงานคณะกรรมการเศรษฐกิจ และสังคมแห่งชาติ
ไอศูรย์ เรืองรัตนอัมพร. (2552). การวิเคราะห์ความเสี่ยงจากคลื่นพายุซัดชายฝั่งโดยวิธีวิเคราะห์ซ้อนทับกลุ่มข้อมูลเชิงพื้นที่แบบกำหนดเงื่อนไข กรณีศึกษาจังหวัดสมุทรปราการ. วารสารวิชาการคณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ สจล. 9, 61-71.
Chang K. (2002). Introduction to Geographic Information Systems. New York : McGrew- Hill.
David, B.E. (2001). GIS A Visual Approach (2nd Edition). Canada : Thomson Learning,
Deeudomchan, K. & Rungsripanich, A. (2007). Analysis of Forest Fire Risk Area Using Remote Sensing and GIS Techniques. Journal of Remote Sensing and GIS Association of Thailand. 8(3), 34-43.
GPS.gov. (2013). GPS Overview. Retrieved May 21, 2014 from http://www.gps.gov/systems/gps/
Haq, M., Akhtar, M., Muhammad, S., Paras., S., and Rahmatullah, J., (2012). Techniques of Remote Sensing and GIS for Flood Monitoring and Damage Assessment : A Case Study of Sindh Province, Pakistan, The Egyptian Journal of Remote Sensing and Space Science, 15 , 135-141.
Sangawongse, S. (2009). Remote Sensing for Land-use/Land-cover Monitoring and Application. pp 1-2. Bangkok : Chula Press.