การศึกษาโครงสร้างประชาคมแพลงก์ตอนในแม่น้ำบางปะกง ปี พ.ศ. 2553
Abstract
ศึกษาโครงสร้างประชาคมแพลงก์ตอนพืชและแพลงก์ตอนสัตว์ในแม่น้ำบางปะกง ด้วยถุงลากแพลงก์ตอนขนาดตา 20 และ 250 ไมครอน ตามลำดับในเดือนมิถุนายนและกันยายน พ.ศ. 2553จากจุดเก็บตัวอย่าง6 สถานี พบแพลงก์ตอนพืชทั้งหมด 3 ดิวิชั่น 5 คลาส 44 สกุล โดยแบ่งเป็นแพลงก์ตอนพืช ดิวิชั่นCyanophytaคลาสCyanophyceaeจำนวน 7 สกุล ดิวิชั่นChlorophytaรวมทั้งหมด 18 สกุล โดยแบ่งเป็น คลาสChlorophyceaeจำนวน 10 สกุล คลาสEuglenophyceaeจำนวน 8 สกุล และ ดิวิชั่นChromophytaรวมทั้งหมด 19 สกุล โดยแบ่งเป็น คลาสBacillariophyceaeจำนวน 16 สกุล และ คลาสDinophyceaeจำนวน 3 สกุลโดยพบแพลงก์ตอนพืชกลุ่มไดอะตอมเป็นกลุ่มเด่นทั้งเดือนมิถุนายนและกันยายน และพบแพลงก์ตอนสัตว์ทั้งหมด 7 ไฟลัมได้แก่ ไฟลัม Protozoa, Cnidaria, Rotifera, Annelida, Arthopoda, Mollusca และ Chrodataโดยพบแพลงก์ตอนสัตว์กลุ่ม Copepod เป็นกลุ่มเด่นในเดือนมิถุนายน และกลุ่ม Rotifer และ Water flea เป็นแพลงก์ตอนสัตว์กลุ่มเด่นในเดือนกันยายนReferences
ขวัญเรือน ศรีนุ้ย และ รุจิรา แก้วกิ่ง. (2548). การแพร่กระจายและความชุกชุมของแพลงก์ตอนสัตว์บริเวณชายฝั่งทะเลภาคตะวันออกปี 2547. สถาบันวิทยาศาสตร์ทางทะเล. มหาวิทยาลัยบูรพา.ชลบุรี.
ขวัญเรือน ศรีนุ้ย. (2549). การแพร่กระจายและความชุกชุมของแพลงก์ตอนสัตว์ บริเวณชายฝั่งทะเลภาคตะวันออก ปี 2548.สถาบันวิทยาศาสตร์ทางทะเล. มหาวิทยาลัยบูรพา.ชลบุรี.
จีรวรรณ สัมฤทธิ์ดี. (2546).ความชุกชุมของแพลงก์ตอนสัตว์บริเวณชายฝั่งทะเลภาคตะวันออกตั้งแต่ปากแม่น้ำบางปะกงถึงศรีราชา. วิทยานิพนธ์ปริญญาวิทยาศาสตรบัณฑิต,สาขาวาริชศาสตร์, คณะวิทยาศาสตร์, มหาวิทยาลัยบูรพา.
ชเนตตี สีตัน. (2548).ความชุกชุมของแพลงก์ตอนสัตว์บริเวณชายฝั่งทะเลภาคตะวันออกตั้งแต่ปากแม่น้ำบางปะกงถึงเกาะสีชัง จังหวัดชลบุรี. วิทยานิพนธ์ปริญญาวิทยาศาสตรบัณฑิต, สาขาวาริชศาสตร์, คณะวิทยาศาสตร์, มหาวิทยาลัยบูรพา.
ชุติมา ถนอมสิทธ์. (2545).ความชุกชุมและการกระจายของแพลงก์ตอนสัตว์ในแม่น้ำบางปะกงถึงอ่างศิลา.ปัญหาพิเศษปริญญาวิทยาศาสตรบัณฑิต, สาขาวาริชศาสตร์, คณะวิทยาศาสตร์, มหาวิทยาลัยบูรพา.
ณิฏฐารัตน์ ปภาวสิทธิ์ และคณะ. (2548). ระบบนิเวศน้ำกร่อยในแม่น้ำบางปะกง. ศูนย์วิจัยทรัพยากรทางทะเลและชายฝั่งอ่าวไทยตอนบน กรมทรัพยากรทางทะเลและชายฝั่ง,189 หน้า.
พัชนุช เจริญจิตต์. (2543).การเปลี่ยนแปลงแพลงก์ตอนพืชบริเวณอ่างศิลา. ปัญหาพิเศษปริญญาวิทยาศาสตรบัณฑิต, ภาควิชาวาริชศาสตร์,คณะวิทยาศาสตร์, มหาวิทยาลัยบูรพา.
พัชรินทร์ นาคหล่อ. (2547). การศึกษาการเปลี่ยนแปลงตามฤดูกาลของแพลงก์ตอนพืชจากปากแม่น้ำบางปะกงจังหวัดฉะเชิงเทรา ถึงศรีราชา จังหวัดชลบุรี.ปัญหาพิเศษปริญญาวิทยาศาสตรบัณฑิต,ภาควาริชศาสตร์, คณะวิทยาศาสตร์, มหาวิทยาลัยบูรพา.
พิชาญ สว่างวงศ์ และคณะ. (2541). การศึกษาคุณสมบัติทางฟิสิกส์ เคมี และชีวภาพ ในบริเวณปากแม่น้ำบางปะกง 2537-2540.รายงานวิจัยโครงการวิจัยร่วม NRCT-JSPS.
ลัดดา วงศ์รัตน์. (2541). แพลงก์ตอนสัตว์. คณะประมง มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์. กรุงเทพฯ.
ลัดดา วงศ์รัตน์.(2542). แพลงก์ตอนพืช. คณะประมง มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์. กรุงเทพฯ.
สมพิศ เผือกสะอาด.(2547).การศึกษาแพลงก์ตอนบริเวณชายฝั่งพัทยา จังหวัดชลบุรี.วิทยานิพนธ์ปริญญาการศึกษามหาบัณฑิต, สาขาวิชาชีววิทยา, บัณฑิตวิทยาลัย,มหาวิทยาลัยบูรพา.
สราวุธ แสงสว่างโชติ. (2547). ศึกษาการเปลี่ยนแปลงกลุ่มประชากรแพลงก์ตอนพืชบริเวณปากแม่น้ำบางปะกงโดยการวิเคราะห์รงควัตถุด้วยวิธี โครมาโทกราฟีของเหลวแบบสมรรถนะสูง. วิทยานิพนธ์ปริญญาวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต, สาขาวิชาวาริชศาสตร์, บัณฑิตวิทยาลัย, มหาวิทยาลัยบูรพา.
สำนักนโยบายและแผนสิ่งแวดล้อม. (2539). รายงานสถานการณ์คุณภาพสิ่งแวดล้อมปี พ.ศ. 2538 –2539. กรุงเทพฯ.
อนุสิฏฐ์ กิจวิสาละ. (2542). การศึกษาแพลงค์ตอนบริเวณชายฝั่งทะเลพัทยา จังหวัดชลบุรี. วิทยานิพนธ์ปริญญาการศึกษามหาบัณฑิต, สาขาวิชาชีววิทยา, บัณฑิตวิทยาลัย,มหาวิทยาลัยบูรพา.
Krebs, C.J.(1989). Ecological methodology. Harper & Row, NY: USA.
ขวัญเรือน ศรีนุ้ย. (2549). การแพร่กระจายและความชุกชุมของแพลงก์ตอนสัตว์ บริเวณชายฝั่งทะเลภาคตะวันออก ปี 2548.สถาบันวิทยาศาสตร์ทางทะเล. มหาวิทยาลัยบูรพา.ชลบุรี.
จีรวรรณ สัมฤทธิ์ดี. (2546).ความชุกชุมของแพลงก์ตอนสัตว์บริเวณชายฝั่งทะเลภาคตะวันออกตั้งแต่ปากแม่น้ำบางปะกงถึงศรีราชา. วิทยานิพนธ์ปริญญาวิทยาศาสตรบัณฑิต,สาขาวาริชศาสตร์, คณะวิทยาศาสตร์, มหาวิทยาลัยบูรพา.
ชเนตตี สีตัน. (2548).ความชุกชุมของแพลงก์ตอนสัตว์บริเวณชายฝั่งทะเลภาคตะวันออกตั้งแต่ปากแม่น้ำบางปะกงถึงเกาะสีชัง จังหวัดชลบุรี. วิทยานิพนธ์ปริญญาวิทยาศาสตรบัณฑิต, สาขาวาริชศาสตร์, คณะวิทยาศาสตร์, มหาวิทยาลัยบูรพา.
ชุติมา ถนอมสิทธ์. (2545).ความชุกชุมและการกระจายของแพลงก์ตอนสัตว์ในแม่น้ำบางปะกงถึงอ่างศิลา.ปัญหาพิเศษปริญญาวิทยาศาสตรบัณฑิต, สาขาวาริชศาสตร์, คณะวิทยาศาสตร์, มหาวิทยาลัยบูรพา.
ณิฏฐารัตน์ ปภาวสิทธิ์ และคณะ. (2548). ระบบนิเวศน้ำกร่อยในแม่น้ำบางปะกง. ศูนย์วิจัยทรัพยากรทางทะเลและชายฝั่งอ่าวไทยตอนบน กรมทรัพยากรทางทะเลและชายฝั่ง,189 หน้า.
พัชนุช เจริญจิตต์. (2543).การเปลี่ยนแปลงแพลงก์ตอนพืชบริเวณอ่างศิลา. ปัญหาพิเศษปริญญาวิทยาศาสตรบัณฑิต, ภาควิชาวาริชศาสตร์,คณะวิทยาศาสตร์, มหาวิทยาลัยบูรพา.
พัชรินทร์ นาคหล่อ. (2547). การศึกษาการเปลี่ยนแปลงตามฤดูกาลของแพลงก์ตอนพืชจากปากแม่น้ำบางปะกงจังหวัดฉะเชิงเทรา ถึงศรีราชา จังหวัดชลบุรี.ปัญหาพิเศษปริญญาวิทยาศาสตรบัณฑิต,ภาควาริชศาสตร์, คณะวิทยาศาสตร์, มหาวิทยาลัยบูรพา.
พิชาญ สว่างวงศ์ และคณะ. (2541). การศึกษาคุณสมบัติทางฟิสิกส์ เคมี และชีวภาพ ในบริเวณปากแม่น้ำบางปะกง 2537-2540.รายงานวิจัยโครงการวิจัยร่วม NRCT-JSPS.
ลัดดา วงศ์รัตน์. (2541). แพลงก์ตอนสัตว์. คณะประมง มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์. กรุงเทพฯ.
ลัดดา วงศ์รัตน์.(2542). แพลงก์ตอนพืช. คณะประมง มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์. กรุงเทพฯ.
สมพิศ เผือกสะอาด.(2547).การศึกษาแพลงก์ตอนบริเวณชายฝั่งพัทยา จังหวัดชลบุรี.วิทยานิพนธ์ปริญญาการศึกษามหาบัณฑิต, สาขาวิชาชีววิทยา, บัณฑิตวิทยาลัย,มหาวิทยาลัยบูรพา.
สราวุธ แสงสว่างโชติ. (2547). ศึกษาการเปลี่ยนแปลงกลุ่มประชากรแพลงก์ตอนพืชบริเวณปากแม่น้ำบางปะกงโดยการวิเคราะห์รงควัตถุด้วยวิธี โครมาโทกราฟีของเหลวแบบสมรรถนะสูง. วิทยานิพนธ์ปริญญาวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต, สาขาวิชาวาริชศาสตร์, บัณฑิตวิทยาลัย, มหาวิทยาลัยบูรพา.
สำนักนโยบายและแผนสิ่งแวดล้อม. (2539). รายงานสถานการณ์คุณภาพสิ่งแวดล้อมปี พ.ศ. 2538 –2539. กรุงเทพฯ.
อนุสิฏฐ์ กิจวิสาละ. (2542). การศึกษาแพลงค์ตอนบริเวณชายฝั่งทะเลพัทยา จังหวัดชลบุรี. วิทยานิพนธ์ปริญญาการศึกษามหาบัณฑิต, สาขาวิชาชีววิทยา, บัณฑิตวิทยาลัย,มหาวิทยาลัยบูรพา.
Krebs, C.J.(1989). Ecological methodology. Harper & Row, NY: USA.